ชั่วโมงที่ 5
ระดับการเรียนรู้ของ Bloom
1.
ความรู้ที่เกิดจากการจำ ( Knowledge )ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
2.
ความเข้าใจ( Comprehend )
3.
การประยุกต์ ( Application )
4.
วิเคราะห์ ( Analysis )
สามารถแก้ปัญหา
5.
การสังเคราะห์ ( Synthesis )
6.
การประเมินค่า
( Evaluation ) วัดได้
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Mayer
การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
การวิเคราะห์ความจำเป็นสิ่งสำคัญและตามด้วยจุดประสงค์ของการเรียนโดยแบ่งออกเป็นส่วนย่อยๆ
3 ส่วนด้วยกัน
1.
พฤติกรรมควรชี้ชัดและวังเกตได้
2.
เงื่อนไข พฤติกรรมสำเร็จได้
ควรมีเงื่อนไขการช่วยเหลือ
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ Bruner
1.
ความรู้ถูกสร้างหรือหล่อหลอมด้วยประสบการณ์
2.
ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
3.
ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
4.
ผู้เรียนอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
5.
ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
6.
เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม
การเรียนรู้ตามทฤษฎีขิง Tylor
1.
ความต่อเนื่อง ( Continuity ) หมายถึง
ในวิชาทักษะต้องเปิดโอกาสให้มีการฝึกทักษะในกิจกรรมและประสบการณ์บ่อยๆและต่อเนื่อง
2.
การจัดช่วงลำดับ ( Sequence ) หมายถึงการจัดสิ่งที่มีความง่ายไปสู่สิ่งที่มีความยาก
3.
บูรณาการ ( Integration ) หมายถึง
การจัดประสบการณ์ควรเป็นในลักษณะที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความคิดเห็นและแสดงพฤติกรรมที่สอดคล้องกัน
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของ
Gagne
1.
การจูงใจ ( Motivation Phase )
2.
การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (
Apprehending Phase )
3.
การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ (
Acquisition Phase )
4.
ความสามารถในการจำ ( Retention Phase )
5.
ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
( Recall Phase )
6.
การนำไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (
Generalization Phase )
7.
การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ (
Performance Phase )
8.
การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน (
Feedback Phase )
Stimulus Sensation
Perception
สิ่งเร้า ประสาทสัมผัส การรับรู้
เกิดการเรียนรู้ การตอบสนอง การคิดรวบยอด
การเรียนรู้เริ่มเกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล
ระบบประสาทจะตื่นตัวเกิดการรับสัมผัสทั้ง 5 แล้วส่งกระแสประสาทไปยังสมองเพื่อแปลความหมายโดยอาศัยประสบการณ์เดิมเป็นการรับรู้ใหม่
อาจสอดคล้องหรือแตกต่างไปจากประสบการณ์เดิม แล้วสรุปผลของการรับรู้นั้น
เป็นความเข้าใจหรือความคิดรวบยอดและมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมแสดงว่าเกิดการเรียนรู้
การรับรู้ (
Perception )
การรับรู้
เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ที่สำคัญของบุคคล เพราะการตอบสนองพฤติกรรมใดๆ
จะขึ้นอยู่กับการรับรู้จากสภาพแวดล้อมของตน และความสามารถในการแปลความหมายของสภาพนั้นๆ
ดังนั้นการเรียนรู้ที่มีปริทธิภาพจึงขึ้นอยู่กับการรับรู้ และสิ่งเร้าที่มีประสิทธิภาพ
ซึ่งปัจจัยการรับรู้ประกอบด้วย ประสารทสัมผัส และปัจจัยทางจิต ได้แก่
ความรู้เดิม ความต้องการ และเจตคติ เป็นต้น
หลักการรับรู้ในทางการศึกษาที่สำคัญ
1.
การรับรู้จะพัฒนาตามวัย
และความสามารถทางสติปัญญาที่จะรับรู้สิ่งภายนอกอย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.
การรับรู้โดยการเห็น
จะก่อให้เกิดความเข้าใจดีกว่าการได้ยิน และประสาทสัมผัสอื่นๆ
ดังนั้นการเรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสมาก ก่อให้เกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
3.
ลักษณะและวิธีการรับรู้ของแต่ละคน
จะแตกต่างกันตามพื้นฐานของบุคลิกภาพ และจะแสดงออกตามที่ได้รับรู้และเจตคติของเขา
4.
การเข้าใจผู้เรียนทั้งในด้าน
การถ่ายโยงการเรียนรู้
( Transfer of Learning )
1.
ธอร์นไดค์ ( Thorndike ) กล่าวถึง
การถ่ายโยงการเรียนรู้จากสถานการณ์หนึ่งไปสู่อีกสถานการณ์หนึ่งว่า
สถานการณ์ทั้งสองจะต้องมีองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกัน คือ
2.
เกสตัลท์
( Gestalt ) กล่าวว่า
การถ่ายโยงการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มองเห็นรูปร่างทั้งหมดของปัญหา
และรับรู้ความสัมพันธ์นั้นเข้าไป กล่าวคือ สถานการณ์ใหม่จะต้องสัมพันธ์กับสถานการณ์เดิม
หลักการและแนวคิดที่สำคัญของการถ่ายโยงการเรียนรู้
1.
การถ่ายโยงการเรียนรู้ ควรจะต้องปลูกฝังความรู้
ความคิด เกี่ยวกับกฎเกณฑ์ต่างๆ
เป็นพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน
2.
ผู้สอนควรใช้วิธีการแก้ปัญหา หรือวิธีการเรียนรู้
เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสคิดและเกิดทักษะอย่างกว้างขวางซึ่งจะเป็นวิธีการที่ช่วยให้เห็นความสัมพันธ์ของความรู้
3.
การถ่ายโยงจะเกี่ยวข้องกับ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล กิจกรรมการเรียนการสอน จึงต้องคำนึงหลักการดังกล่าว
4.
การถ่ายโยงที่อาศัยสถานการณ์
การสื่อความหมาย ( Communication )
การสื่อความหมายเป็นพฤติกรรมสำคัญที่สัตว์สังคมทุกชนิดใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อซึ่งกันและกัน แสดงถึงความเป็นหมู่เหล่าเผ่าพันธุ์เดียวกัน
การสื่อความหมายมีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินว่า Communis หรือ Communication
การสื่อความหมายจึงเป็นกระบวนการส่งหรือถ่ายทอดความรู้เนื้อหาสาระ
ความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะ
ตลอดจนประสบการณ์จากบุคคลฝ่ายหนึ่งซึ่งเรียกว่า “ผู้ส่ง”
ไปยังบุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “ผู้รับ”
การสื่อความหมาย
เป็นการส่งข่าวสารความคิดเห็นระหว่างบุคคล อาจส่งผ่านทางเสียง ทำให้เกิดการได้ยินจากอวัยวะการรับเสียง
เช่น เสียงพูด เสียงสัตว์ร้อง เสียงลมพายุ หรือสิ่งที่ส่งออกมาเป็นภาพ
เห็นด้วยตาเปล่า การเขียนเป็นหนังสือ รูปภาพ สัญญาณต่างๆ เช่น สัญญาณไฟ
ท่าทางต่างๆ
โครงสร้างและกระบวนการสื่อความหมาย
กระบวนการสื่อความหมายจะเกิดขึ้นได้อย่างสมบูรณ์ต้องประกอบด้วยโครงสร้างและองค์ประกอบดังนนี้
1.
ผู้ส่ง (
Source or Sender )คือแหล่งกำเนิดสาร หรือ บุคคลที่มีเจตนาจะส่งสารไปยังผู้รับ อาจเป็นคน
สัตว์ องค์การ หรือหน่วยงาน
2.
สาร ( Message ) คือ เนื้อหา
สาระ ความรู้สึก ทัศนคติ ทักษะ ประสบการณ์ ที่มีอยู่ในตัวผู้ส่ง หรือแหล่งกำเนิด
3.
ช่องทาง ( Channel ) คือ
ช่องทางต่างๆ ที่ใช้ในการรับรู้สาร ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย โดยอาศัยสื่อต่างๆ
เป็นพาหนะ เช่น รูป เสียง ความรู้สึกสัมผัส กลิ่น รส เป็นต้น
4.
ผู้รับ ( Receiver ) คือ บุคคล
องค์การ หรือหน่วยงานที่รับรู้สารจากผู้ส่งสาร
เข้าสู่ตนเองโดยผ่านช่องทางและสื่อต่างๆในข้อ 3
พจนานุกรมการศึกษาของคาร์เตอร์ วี กูด ( Carter V. Good )
ได้ให้ความหมายของการสื่อความหมายไว้ 3 ความหมาย
1.
วิธีส่งความคิดเห็นความรู้สึกจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง
โดยการแสดงท่าทาง สีหน้า การพูด การเขียน ใช้โทรศัพท์ โทรเลข วิทยุ
โทรทัศน์และสัญญาณอื่นๆ
2.
การใช้เครื่องมือและกระบวนการ เทคนิคการพูด…..
3.
….
การสื่อความหมายกับการเรียนการสอน
การเรียนการสอนนั้นก็เป็นการสื่อความหมายอย่างหนึ่ง
เพราะมีผู้ส่งความรู้ คือ ครู มีข่าวสารหรือเนื้อหา
จุดมุ่งหมายสำคัญของกระบวนการสื่อความหมาย
จุดมุ่งหมายสำคัญในการเรียนการสอนก็คือ
การพยายามสร้างความเข้าใจ ทักษะ
ปัญหาสำคัญในการถ่ายทอดความรู้
จะทำอย่างไรจึงจะสามารถสร้างความเข้าใจร่วมกัน
ระหว่างครูกับนักเรียนได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง
ทำอย่างไรนักเรียนจึงเกิดการเรียนรู้ตามที่ครูได้ตั้งจุดมุ่งหมายไว้
ครูจำเป็นต้องรู้จักการตระเตรียมและเลือกสรรในการสร้างกิจกรรมและประสบการณ์ต่างๆ
เพื่อเป็นแนวทางในการนำนักเรียนให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมาย
หรือมีการเลือกสรรประสบการณ์ของนักเรียน
เพื่อนำมาเป็นพื้นฐานในการนำนักเรียนไปสู้จุดมุ่งหมายปลายทางร่วมกันในที่สุด
ครูจะต้แองรู้จัดเลือกและนำมาใช้
สรุปความสัมพันธ์ของการรับรู้ การเรียนรู้ และการสื่อความหมาย
จากที่กล่าวมาข้างต้นที่ว่า
การเรียนรู้คือกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรอันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์หรือการปฏิบัติที่กระทำซ้ำๆ
บ่อยๆ ซึ่งการที่มนุษย์จะเกิดการเรียนรู้ได้ก็ต้องมีการรับรู้ก่อนซึ่งเราสามารถรับรู้ได้ทางประสาทสัมผัสทั้ง
5 เมื่อเราเกิดกระบวนการทั้งสองอย่างนี้แล้วก็จะทำให้สามารถถ่ายทอดความรู้ความสามารถ
เนื้อหา สาระ ความรู้สึก นึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม ทักษะ
ตลอดจนประสบการณ์จากบุคคลฝ่ายหนึ่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น